Kick It Out Health เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานทุกครั้ง

เหตุผลที่ต้องตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานทุกครั้ง

ตรวจปัจจัยเสี่ยง

สิ่งที่เราต้องเจอ ไม่ว่าจะเข้าทำงาน หรือว่าไปสมัครงานยที่ใดก็ตาม มักจะมีการตรวจสุขจภาพทุกครั้งเสมอ หลายคนก็สงสัยว่าจะตรวจมากทำไม เพราะถึงอย่างไรเราก็สามารถทำงานได้อยู่แล้ว ไม่ได้พิการอะไร นี่จึงเป็นข้อสงสัยที่หลายคนยังไม่รู้ แต่ความเป็นจริงแล้ว มันก็ถือว่าสำคัญเหมือนกันสำหรับการ ตรวจปัจจัยเสี่ยง ในการทำงาน อย่างน้อยที่สุด มันก็เป็นเหมือนใบรับรอง ว่าเราสามารถที่จะทำงานได้ และสุขภาพไม่บกพร่องที่อาจจะเป็นอันตรายต่อการทำงานได้ ลองมาดูสาเหตุที่แท้จริงกัน ว่าเขาตรวจไปเพื่ออะไร

-ป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น เพราะงานบางอย่างมันก็มีความเสี่ยงเหมือนกัน อย่างเช่นงานที่เสี่ยงต่อโรคหัวใจ งานที่เสี่ยงต่อการหน้ามืดเวลาทำงาน ซึ่งงพวกนี้มันสามารถเป็นอันตรายถึงชีวิตได้เลย หากเราไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพของตัวเราเอง ทางบริษัทเขาจึงต้องให้ ตรวจปัจจัยเสี่ยง ก่อนที่จะเริ่มงาน เพื่อที่จะได้รู้ประวัติการเจ็บป่วย หรือโรคต่างๆ ที่จะต้องระวัง หรือว่าเสี่ยงต่อการทำงานอะไรบ้าง จะได้ป้องกันได้ทัน

-เพื่อความปลอดภัยชีวิตเราเอง งานที่เสี่ยงบางอย่าง มันสามารถทำให้เสียชีวิตได้เลย จึงต้องมีการป้องกันเอาไว้ เพื่อที่จะไม่ให้เกิดเหตุการณ์ร้ายๆ เหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นโรคอะไรก็ตาม ที่เราอาจจะมองไม่เห็นว่ามันสำคัญอะไร แต่เมื่อเขากำหนดให้เราต้องตรวจ เราก็ต้องทำให้มันถูกต้องทุกอย่าง ไม่เช่นนั่นอันตรายมันก็จะเกิดขึ้นกับตัวเรานั่นเอง

-ทำตามระเบียบข้อบังคับ เพราะเราต้องทำงนร่วมกับคนอื่นอีกหลายคนในบริษัทนั้นๆ จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ทางบริษัทเขาจะต้องรู้ประวัติ และโรคต่างๆ ของเรา จึงต้อง ตรวจปัจจัยเสี่ยง ก่อนทุกคน เพราะถ้าเป็นโรคร้ายแรงต่างๆ อย่างเช่นโรคเอดส์ วัณโรค ที่มันสามารถติดต่อไปสู่คนอื่นได้ ก็ไม่สมควรที่จะรับเข้ามาทำงานด้วย เพราะมันเสียงที่จะทำให้คนอื่นติดโรคตามไปด้วยนั่นเอง

นอกจากจะทำให้เราเกิดความปลอดภัยในการทำงานแล้ว ทางบริษัทเขาก็จะได้สบายใจด้วย ว่าเราไม่เสี่ยงต่อการทำงนทุกอย่าง ที่มันอาจจะเกิดอันตรายได้ เมื่อทางบริษัทเขาให้เรา ตรวจปัจจัยเสี่ยง เราก็ควรจะทำตามให้มันครบถ้วนตามขั้นตอน ไม่เช่นนั้น ความเสสี่ยงก็จะมาตกอยู่ที่เราเอง เวลาที่มันเกิดอะไรขึ้นมา นี่จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้บริษัทหลายแห่ง เขาเข้มงวดในเรื่องนี้

จะได้ไม่ต้องสงสัยกันแล้ว ว่าทำไมบริษัทหลายที่ จึงมีการ ตรวจปัจจัยเสี่ยง เพราะเหตุผลอย่างที่ได้บอกไปนั่นเอง จึงต้องมีการตรวจ และถ้าเราทำให้ครบตามข้อกำหนดทุกอย่าง ทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นบริษัท เพื่อนร่วมงาน หรือว่าตัวเอราเอง ก็จะทำงานได้อย่างสบายใจ ไม่ต้องกลัวว่าจะเป็นอะไรหรือเปล่า

และเมื่อเราจะไปสมัครงาน และต้องเจอกับการตรวจสุขภาพหรือว่า ตรวจปัจจัยเสี่ยง แล้ว ก็ควรที่จะตรวจตามข้อบังคับและระเบียบของทางบริษัทด้วย เพื่อความปลอดภัยของเราเอง ไม่ควรจะให้แพทย์รับรองเพียงอยางเดียวเท่านั้น เพราะเราจะไม่รู้สุขภาพที่แท้จริงของเรา ว่าเสี่ยงกับการทำงานอย่างไร อาจจะทำให้เกิดอันตรายขึ้นในภายหลังก็ได้

Related Post

Whey Protein

เวย์โปรตีนกับอกไก่อะไรดีกว่ากันเวย์โปรตีนกับอกไก่อะไรดีกว่ากัน

สำหรับยุคนี้เทรนด์ที่มาแรงที่สุดคงหนีไม่พ้นเทรนด์การดูแลสุขภาพร่างกาย เราจะเห็นได้ชัดเจนเลยว่าหนุ่มสาวในยุคปัจจุบันนี้ล้วนแล้วแต่ออกกำลังกายอย่างหนักหน่วงแทบทั้งสิ้น มีทั้งออกกำลังกายเองตามคลิปออกกำลังที่แพร่หลายในยูทูป และมีทั้งการจ้างเทรนเนอร์เพื่อลดความอ้วนและดูแลสุขภาพให้แข็งแรง อย่างไรก็ดีนอกจากจะดูแลร่างกายด้วยการออกกำลังกายแล้ว อีกสิ่งหนึ่งที่คนยุคนี้ให้ความสำคัญไม่แพ้กันก็คือการกินอาหารที่มีประโยชน์ โดยอาหารที่นิยมกินกันในตอนนี้ได้แก่เวย์โปรตีนนั่นเอง เพราะอะไรจึงนิยมกินเวย์โปรตีน หลายคนอาจสงสัยว่าเพราะอะไรเวย์จึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในหมู่คนที่ออกกำลังกายหรือว่าลดความอ้วน ซึ่งแท้จริงแล้วเวย์โปรตีนก็คือโปรตีนสกัดจากนมวัวผ่านกระบวนการต่างๆ จนมาอยู่ในรูปแบบผงที่ชงพร้อมดื่มนั่นเอง เวย์มีรสชาติที่ไม่อร่อยนัก แต่ด้วยเทคโนโลยีและการคิดค้น จึงมีรสชาติให้เลือกได้อย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรสสตรอเบอร์รี่ รสช็อกโกแลต รสกาแฟ แต่ละรสมีจุดที่น่าสนใจแตกต่างกันออกไป โปรตีนจะช่วยให้ร่างกายเสริมสร้างกล้ามเนื้อได้เร็วขึ้นและเพียงพอต่อการใช้งาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ออกกำลังกายหนักๆ เป็นประจำยิ่งต้องใช้โปรตีนมากกว่าคนทั่วไป การกินอาหารสด อย่างอกไก่ ไข่ต้ม ดูจะไม่ตอบโจทย์คนยุคนี้ที่ชื่นชอบความสะดวกรวดเร็วนัก และการกินอกไก่ต้ม ไข่ต้มทุกๆ วันติดต่อกันอาจทำให้หลายคนเบื่อได้ เวย์จึงถูกผลิตขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์ความสะดวกรวดเร็วของคนยุคใหม่นั่นเอง

สมุนไพร รักษา ริดสีดวง

6 ความเชื่อที่ “ผิด” ที่เกี่ยวกับริดสีดวง6 ความเชื่อที่ “ผิด” ที่เกี่ยวกับริดสีดวง

ปัจจุบันคนไทยเรานั้นเป้นริดสีดวงทวารหนักกันอย่างมาก ซึ่งพบได้หลากหลายวัยเริ่มตั้งแต่อายุ 20 ปี ไปจนถึง ผู้สูงอายุเลยก็มีนะครับ ซึ่งเชื่อว่าหลาย ๆ คนนั้นอาจจะกำลังประสบปัญหาในเรื่องของดริดสีดวงอยู่ด้วยเช่นกันและเชื่อว่าทุกคนนั้นยังมีความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับริดสีดวงอยู่ดังนั้นในบทความนี้เราอยากจะขอพูดถึง 6 ความเชื่อที่ “ผิด” ที่เกี่ยวกับริดสีดวง มาลองดูกันดีกว่าครับว่าจะมีความเชื่อในเรื่องอะไรบ้าง ริดสีดวง ถ้าหากผ่าตัดแล้วจะไม่กลับมาเป็นอีก ความเชื่อผิด ๆ ของใครหลาย ๆคนเลยนั้นคือมีความเชื่อว่าถ้าหากเราเคยมีประวัติเคยผ่าริดสีดวงมาแล้ว จะไม่มีทางกลับมาเป็นริดสีดวงอีกครั้ง ซึ่งนี้เป็นความเชื่อผที่ผิดนะครับ เพราะริดสีดวงนั้นเกิดจาการที่เส้นเลือดโปร่งพอง ต่อให้เราเคยผ่าตัดไปแล้ว แต่ถ้าหากเรายังมีพฤติกรรมเดิม ๆ เช่นท้องผูกบ่อย ๆ ไม่ดื่มน้ำ นั่งถ่ายนาน

โรคติดหวาน

โรคติดหวาน ภัยใกล้ตัวที่คุณต้องระวังโรคติดหวาน ภัยใกล้ตัวที่คุณต้องระวัง

เมื่อพูดถึงอาหารหรือขนมที่มีรสหวาน เป็นอาหารที่ทุกคนชื่อชบอถึงจะรู้ทั้งรู้ว่าความหวานที่ได้รับจะทำให้ร่างกายต้องพบเจอกับปัญหาน่านับประการ ไม่ว่าจะเป็นไขมันที่สะสมจนกลายเป็นคนอ้วนหรือโรคร้ายที่มากับความหวาน วันนี้เรามาทำความรู้จักกันโรคติดหวานคืออะไร และสามารถแก้ไขได้อย่างไร             เมื่อร่างกายได้กินอาหารที่มีรสหวาน รสหวานจะเข้าไปกระตุ้นการทำงานของสมองให้ทำการหลั่งฮอร์โมนโดปามีน (dopamine) ซึ่งฮอร์โมนนี้จะทำให้ร่างกายจะรู้สึกมีความสุข สดชื่นและอารมณ์ดี โดยจะเห็นได้จากช่วงเวลาที่กินอาหารที่มีรสหวานเราจะรู้สึกมีความสุข ช่วงแรกการกินอาหารที่มีรสหวานเพียงเล็กน้อยก็สามารถกระตุ้นให้เกิดการหลั่งฮอร์โมนโดปามีนได้แล้ว แต่เมื่อกินอาหารที่มีรสหวานเป็นประจำ สมองจะชินกับปริมาณรสหวานที่ได้รับ ทำให้การสร้างฮอร์โมนโดปามีนลดลง ร่างกายจึงต้องการความหวานเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อสมองทำการหลั่งฮอร์โมนโดปามีนออกมาเพิ่มขึ้นทำให้รู้สึกมีความสุข สดชื่น ดังนั้นหากคุณรู้สึกว่าอาหารหวานที่เคยรับประทานอยู่ทุกวันกินแล้วรู้สึกหงุดหงิด ไม่สดชื่น บางคนถึงขนาดที่รู้สึกเศร้าไม่มีแรงก็มี ต้องเพิ่มควานให้มากขึ้นถึงจะรู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่า หากคุณมีอาการดังกล่าวเกิดขึ้นแสดงว่าคุณมีอาการของโรคติดหวานเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้โรคติดหวานจะนำมาซึ่งโรคอ้วนและโรคร้ายแรงถึงชีวิตที่มีสาเหตุมาจากไขมันสะสมในร่างกาย เช่น โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด โรคหัวใจ